您现在的位置是:DailyThai > สำรวจ
【หนังสือกีฬาสปอร์ตพูล】‘ทำได้!’กูรูระดับโลกชี้ ‘ฮับนวัตกรรม’ ตีโจทย์ได้‘ไทยมีลุ้น?’ | เดลินิวส์
DailyThai2025-02-05 07:58:20【สำรวจ】6人已围观
简介นายกฯ ไทยได้เข้าหารือกับ “บริษัทเวชภัณฑ์ระดับโลก” ที่ให้ความสนใจที่จะให้ความร่วมมือสนับสนุนประเทศไทย หนังสือกีฬาสปอร์ตพูล
นายกฯ ไทยได้เข้าหารือกับ “บริษัทเวชภัณฑ์ระดับโลก” ที่ให้ความสนใจที่จะให้ความร่วมมือสนับสนุนประเทศไทยให้เป็น “ฮับสุขภาพและการแพทย์” ในภูมิภาคนี้ ด้วยการส่งเสริมให้เกิดการวิจัยและพัฒนา “นวัตกรรมใหม่ ๆ” ในด้านการแพทย์และสุขภาพ ที่สามารถเปลี่ยนแปลงชีวิตผู้คนทั่วโลก รวมถึงสร้างโอกาสใหม่ ๆ ให้กับประเทศไทย ซึ่งนับเป็นเรื่องที่ดี
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์อย่างไรก็ตาม แต่ก่อนที่จะไปถึงการผลักดันให้ “ไทยเป็นประเทศนวัตกรรม” นั้น กรณีนี้ก็มี “มุมสะท้อน” จาก “กูรูนวัตกรรมระดับโลก” อย่าง ดร.สตีเวน ดี. เอปพิงเกอร์ (Prof.Steven D. Eppinger) ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมของ MIT Sloan School of Management ที่เสนอแนะเรื่องนี้ผ่านเวที “Human Intreraction for Systemetic Innovation” ที่ทาง มูลนิธิมหาวิทยาลัยมหิดล ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดขึ้น เพื่อแลกเปลี่ยนมุมมองต่อการพลิกอนาคตการแพทย์ไทย ด้วยนวัตกรรมใหม่ ๆ
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์ผ่านแนวคิด Systematic Framework
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์เพื่อให้เกิด “นิเวศนวัตกรรมของไทย”
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์“สร้างโอกาสเศรษฐกิจไทยโตยั่งยืน”
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์ทั้งนี้ ในเวทีดังกล่าวนั้น ดร.สตีเวน ได้พูดถึงความสำคัญของกระบวนการคิดแบบ Systemic Thinking ว่า ความคิดสร้างสรรค์ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ความสามารถส่วนบุคคลหรือพรสวรรค์แต่กำเนิด แต่ปลูกฝังและบ่มเพาะได้ด้วยกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ ซึ่งการที่ประเทศไทยตระหนักว่าต้องสร้างนวัตกรรมใหม่ เพื่อช่วยสร้างเศรษฐกิจที่เติบโตและยั่งยืน เป็นเรื่องที่ดี เพื่อที่จะก้าวออกจากกับดักรายได้ปานกลาง แต่อย่างไรก็ดี นวัตกรรมนั้นก็ไม่ได้เกิดขึ้นง่าย ๆ และนวัตกรรมที่สร้างออกมาก็ใช่ว่าจะประสบความสำเร็จได้ทุกชิ้น ดังนั้นการที่จะเพิ่มโอกาสสำเร็จนั้น ประเทศไทยต้องตอบโจทย์ให้ครบทั้ง 3 ข้อก่อน
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์สำหรับ “โจทย์ 3 ข้อ” ที่ไทยจะต้องตอบให้ได้ก่อนนี้ กูรูจาก MIT ได้มีการแจกแจงไว้ว่า จะประกอบด้วย1.ต้องตอบความต้องการของคน (People desirable) 2.โซลูชั่นต้องใช้งานได้จริง (Solution feasible) 3.ต้องนำมาต่อยอดในเชิงธุรกิจได้ (Business viable)โดยสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ก็จะต้องอาศัยการฟังและเข้าใจความต้องการของคนอย่างแท้จริง จึงจะเกิดนวัตกรรมที่ดีขึ้นมา ดังนั้นส่วนตัวแล้วอยากเสนอให้ไทยได้นำเอา แนวคิด Systematic Innovation through Human-Centered Design มาใช้ ที่เป็นกระบวนการคิดแบบ “Design thinking” เพื่อให้เกิด “นิเวศนวัตกรรมใหม่ ๆ” ของไทย
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์“กระบวนการนี้จะเน้นให้ความสำคัญกับคน ผ่านการฟัง การสังเกต แล้วนำไปผ่านกระบวนการคิด และทดสอบแนวคิด เพื่อนำมาปรับเป็นนวัตกรรมที่ตอบสนองต่อความต้องการของคน รวมถึงเพื่อให้เกิดเป็นโซลูชั่นที่ดีขึ้น และตอบโจทย์เชิงธุรกิจได้ด้วย” เป็นคำแนะนำจากทางกูรูด้านการพัฒนานวัตกรรมระดับโลก
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์ทางกูรูคนเดิมยังกล่าวไว้อีกว่า โซลูชั่นที่เป็นนวัตกรรมไม่จำเป็นต้องเป็นของใหม่ก็ได้ แต่ต้องเป็นสิ่งที่ดีกว่าเดิม เช่น กรณีของ Nest ที่วางตลาดผลิตภัณฑ์ Digital Thermostat สำหรับใช้ควบคุมอุณหภูมิในบ้านแบบดิจิทัล ซึ่งจากเดิมก็มีใช้กันอยู่ทั่วไปในตลาดสหรัฐ แต่ทางผู้ผลิตได้มีการเพิ่มเติมนวัตกรรมใหม่เข้าไป เพิ่มเติมคือ เทคโนโลยีตรวจจับคนในบ้าน ที่นอกจากจะช่วยปรับอุณหภูมิที่คนในบ้านชอบแล้ว การตรวจจับว่ามีหรือไม่มีคนอยู่ในบ้านยังลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานได้อีกเป็นจำนวนมาก รวมถึงยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพราะลดการใช้พลังงานอีกด้วย ผู้ใช้จึงพร้อมจ่ายในราคาที่สูงกว่า
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์นี่คือตัวอย่าง “ต่อยอดนวัตกรรมเดิม”
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์เสริมนวัตกรรมใหม่ “ช่วยเพิ่มมูลค่า”
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์ดร.สตีเวน ยังขยายความเรื่องนี้ว่า ตัวอย่างข้างต้นเกิดจากการนำแนวคิด Systematic Innovation through Human-Centered Design มาใช้ โดยสิ่งสำคัญแรกจากกรณีศึกษานี้คือ การหาความต้องการให้เจอ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่รับรู้อยู่ทั่วไปและเห็นได้ชัด หรือเป็นสิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องต้องการ แต่ยังไม่ได้ถูกตอบสนอง ซึ่งมักเป็นสิ่งที่ถูกมองข้าม แต่เกิดขึ้นได้จากการรับฟังอย่างเข้าใจและสังเกต นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างที่ถูกสอบถามก็ต้องเป็นกลุ่มคนที่หลากหลาย เพราะการคุยกับคนแบบเดียว หรือมีจำนวนน้อยเกินไป จะไม่สามารถค้นหาความต้องการที่แท้จริงได้ และควรเป็นผู้ที่เกี่ยวข้อง ไม่ใช่แค่ผู้ใช้จริงเท่านั้น
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์ขณะที่สิ่งสำคัญส่วนที่สอง คือ การได้มาซึ่งโซลูชั่น โดย ดร.สตีเวน พูดถึงเรื่องนี้ว่า ขั้นตอนนี้ต้องผ่านการนำเสนอความคิดที่หลากหลายจากคนหลายแขนง เช่น วิศวกร นักออกแบบ ฝ่ายการตลาดและการขาย เพื่อให้ได้แนวคิดและไอเดียรอบด้าน ก่อนคัดเลือกและจัดกลุ่มเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ตอบโจทย์ จากนั้นจึงแปลโซลูชั่นให้ออกมาเป็น prototype แล้วนำไป test เพื่อรับฟังความเห็นผู้เกี่ยวข้อง ก่อนนำกลับไปปรับปรุงพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งขั้นตอนนี้ฟังดูเหมือนเป็นกระบวนการง่าย ๆ แต่ต้องใช้การเปลี่ยนทัศนคติ ความกล้าที่ก้าวออกจากความเคยชิน และความอดทน ไม่น้อยเลย และนี่ก็เป็น “มุมมองน่าคิด”
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์“น่าพินิจ” จากกูรูนวัตกรรมระดับโลก
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์ที่ “ไทยจะต้องเร่งถอดรหัส ตีโจทย์”
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์เพื่อ “อัปเกรดไทยเป็นฮับนวัตกรรม”.
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
ทำได้กูรูระดับโลกชี้ฮับนวัตกรรมตีโจทย์ได้ไทยมีลุ้นเดลินิวส์很赞哦!(729)
相关文章
- เดลินิวส์ 28 ม.ค. 'อิ๊งค์' คาดฉีดเข้าระบบ 3 หมื่นล้าน สูงวัยยิ้มแฉ่งรับเงินหมื่น | เดลินิวส์
- 'ใหม่ ดาวิกา'แซ่บรับฮาโลวีน ฟาดลุคแม่แมงมุมขยุ้มหัวใจ สะพรึงกันทั้งโซเชียล | เดลินิวส์
- ลุ้นระทึกของขวัญปีใหม่ กระแทกใจกันแค่ไหน? | เดลินิวส์
- วิทวัจน์ สุนทรวิเนตร์ ประกาศเกษียณ ปิดฉาก 27 ปี ตีสิบ เทปสุดท้าย 30 พ.ย.
- น่ารัก! “วิล ชวิณ”รีโพสต์สตอรี่แฟนสาว “เบลล่า ราณี” ที่ถ่ายคลิปถึงปัญหามลพิษทางอากาศ | เดลินิวส์
- แม้ช้างศึกไร้ดาวดัง! 'เดอะตุ๊ก'เชื่อมั่น 'อิชิอิเวย์ส' | เดลินิวส์
- สังคมโลก : สิ่งชั่วร้าย | เดลินิวส์
- สงครามในตะวันออกกลาง กระทบการเติบโตทางเศรษฐกิจของซาอุฯ | เดลินิวส์
- เกษตรกรปลูกพลับในไต้หวัน หดหู่ ‘โลกร้อน’ผลไม้ไม่ออกผล | เดลินิวส์
- มินฮีจิน เผยว่าได้รับกำลังใจจาก V วง BTS ในช่วงที่ยากลำบากเมื่อหลายเดือนที่ผ่านมา
热门文章
站长推荐
นิพิฏฐ์หวานเจี๊ยบ | เดลินิวส์
พลังฮึด 'มาดามแป้ง' ส่งสัญญาณ ลุยบอลไทยต่อยาวๆ | เดลินิวส์
สงครามในตะวันออกกลาง กระทบการเติบโตทางเศรษฐกิจของซาอุฯ | เดลินิวส์
Harry Styles ขึ้นแท่นคนดังอังกฤษอายุน้อยกว่า 30 ปีที่มีมูลค่าทรัพย์สินสูงสุด
‘ติดเผา!’แบบนี้ก็มีนะ ‘โรคชอบจุดไฟ’ พบน้อย‘น่ากลัวมาก!’ | เดลินิวส์
'SEVENTEEN'ชวนกะรัตไทยฉลองวาเลนไทน์ย้อนหลัง กับสเตเดี้ยมทัวร์ครั้งใหม่ 15 ก.พ.นี้! | เดลินิวส์
TV & Entertainment – Page 617 of 617 – THE STANDARD
เปิดใจเยาวชนสวด 'โอ้เอ้วิหารราย' สืบสานมรดกภูมิปัญญาไทย | เดลินิวส์